สถานที่ขอหวย วัดระฆัง 2567 พาเที่ยวกรุงเทพ ไหว้พระริมแม่น้ำจ้าพระยา วัดสวยเก่าแก่
สถานที่ขอหวย วัดระฆัง 2567 ภายในวัดระฆัง มีพระอุโบสถที่สวยงาม เป็นทรงแบบรัชกาลที่ 1 ประดิษฐาน หลวงพ่อยิ้มรับฟ้า เป็นพระประธานค่ะ โดยเป็นพระพุทธรูปเนื้อทองสำริด ปางสมาธิ พระประธานองค์นี้ได้รับการยกย่องว่างดงามมาก ซึ่งครั้งหนึ่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พิกัด วัดระฆัง67 รัชกาลที่ 5 เคยเสด็จมาพระราชทานผ้ากฐิน ทรงมีพระราชดำรัสว่า ไปวัดไหนไม่เหมือนมาวัดระฆัง พอเข้าประตูโบสถ์ พระประธานยิ้มรับฟ้าทุกที” จึงเป็นที่มาของชื่อพระประธานนั่นเอง
ปูชนียสถานที่สำคัญอีกแห่งของวัดระฆังก็คือ พระปรางค์ วัดระฆังค่ะ ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น พระปรางค์ที่ทำถูกแบบแผนที่สุดในประเทศไทย สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 โดยทรงมีพระราชศรัทธาสร้างพระปรางค์ พระราชทานร่วมกุศล พิกัดไหว้พระ วัดระฆัง 2567 กับสมเด็จพระพี่นางพระองค์ใหญ่ (สมเด็จเจ้าฟ้าหญิง กรมพระเทพสุดาวดี) โดยเป็นพระปรางค์แบบ สถาปัตยกรรมรัตนโกสินทร์ยุคต้นที่งดงาม จนยึดถือเป็นแบบฉบับของพระปรางค์ที่สร้างในยุคต่อมานั่นเอง
สถานที่ขอหวยแม่นๆ วัดระฆัง2567 ไหว้พระ 9 วัด กรุงเทพ 2564 ริมแม่น้ำเจ้าพระยา แก้ชง เสริมดวง ตามคติความเชื่อ
ประวัติวัดระฆัง
วัดระฆังโฆสิตาราม มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมใช้ชื่อว่า วัดบางหว้าใหญ่ ค่ะ และต่อมา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงยกให้เป็นพระอารามหลวง และเมื่อมีการขุดพบระฆังโบราณในเขตวัดในสมัยรัชกาลที่ 1 จึงถูกเรียกว่า วัดระฆัง ตั้งแต่นั้นมา อีกทั้งยังเป็นที่ประทับของ สถานที่ขอหวยภาคกลาง สมเด็จพระสังฆราช ในสมัยรัตนโกสินทร์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นที่ประชุมสังคายนา พระไตรปิฎก ซึ่งอัญเชิญมาจากนครศรีธรรมราชขึ้นที่วัดนี้อีกด้วย และเมื่อเอ่ยถึงวัดระฆังโฆสิตารามแห่งนี้ ก็ต้องนึกถึง คือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี พระมหาเถระรูปสำคัญ ที่ได้รับความเคารพนับถืออย่างมากในประเทศไทย ซึ่งท่านเคยดำรงตำแหน่ง สถานที่ขอหวยกรุงเทพฯ เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารในสมัยรัชกาลที่ 4-5 ค่ะ สำหรับ พระคาถาชินบัญชร เป็นบทสวดมนต์ สันนิษฐานว่าพระเถระชาวล้านนาเป็นผู้แต่งขึ้น และเป็นพระคาถาสำคัญในพิธีกรรมตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา และได้ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ขึ้น โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ที่เชื่อว่าหากสวดกันเป็นประจำ จะทำให้เกิดความเป็นสิริมงคล แก่ตัวเองนั่นเอง
ที่อยู่วัดระฆัง
ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
ขอบคุณข้อมูลและรูปภาพ จาก https://www.traveloka.com/https://travel.trueid.net/https://siamlottolekded.com